:: 普拉崇迪 Pra Somdej Wat Rakhang- King of Thai Buddha Amulets     โดย พร  บางระจัน  

FAMOUS AMULET

TRAVEL TOOLS

 

id7500003000070

 

 

 


 

"พระสมเด็จวัดเกศไชโย

 

Pra Somdej 佛來運轉老唐原創 "somdej wat ket chaiyo"

Product: 00031

Price :5,000,000.00 baht
 

Detail:

Phra Somdej Wat Ketchaiyo,由 Somdet Phra Phuttachan (To Phromrangsi) 創造的 3 個 Phra Somdej 家族之一是獨一無二的 Phra Somdet,也就是說,它必須具有'Ok Rong,Hu Bai Si,有邊玻璃'的特徵無處不在。形狀打印”


根據 Phraya Thipkosa (Son Lohanan) 和 Nai Satchukorn 的記載,這是從 Phra Dhamma Thavorn Chantachot 的故事中記載的,一位沙彌幫助 Phra Phuttachan (To Phromrangsi) Tam Phong Muensarn 創建了一個皇家 1866 年左右在 Wat Rakhang Kositaram 當時建造的三層和七層護身符被放置在紅統府的Wat Ketchaiyo。
Phra Somdej Wat Ketchaiyo 這是一個白石灰護身符。 佛像通常比其他顏色更白。 部分底座背面清晰可見檳榔葉覆層紋路,共有3種流行的收藏印花:流行的7層印花、6層胸紋、6層胸紋貫穿始終。
Phra Somdej Wat Ketchaiyo,這 3 個護身符是長方形的護身符。 像 Phra Somdet Wat Rakhang Kositaram 切削刃的所有 4 個側面幾乎都是圓形的。 包括所有 4 個角,地板和牆壁框架還有另一個玻璃框架。 總體上具有相似的佛教特徵,僅在七層和六層體式基礎上有所不同,即本尊坐姿 呈盤腿坐姿,垂胸,耳垂於體式之上,玻璃拱門內,鏡框內。
而在Phra Somdej Wat Ket Chaiyo的數量中,所有3個版畫中,最受歡迎的版畫是“Phra Somdej Wat Ket Chaiyo, popular 7-tiered print”,除了底座是7-tiered之外,其他重要的具體缺陷正在考慮中如下面所述:
- 耳朵,也就是‘耳形耳’,左耳比右耳高。
- 他的臉和脖子看起來像“火柴頭”
- 清晰貼上的佛像原狀,可見手臂根部穿入肩部
- Phra Laem Khom 圖像左側上部底座的末端,其末端被彈開
- 底部底座兩側的末端 將是一個進入玻璃蓋線的支點
- 佛像左側最下方的底座末端,形似玻璃覆蓋的雞刺。
- 佛像的右膝上有一個尖銳的突起。
崇迪吉猜友 它是一種被廣泛接受和流行的護身符。 由於它是“Phra Somdej”家族的護身符,由尊者 Somdet Phra Phuttachan (To Phromrangsi) 創造,受到全世界佛教徒的崇敬。

拉姆·沃查拉普拉迪特

 

พระสมเด็จเกศไชโย

รหัสสินค้า 00031

ราคา :5,000,000.00 บ..
 

รายละเอียด

"พระสมเด็จวัดเกศไชโย 1 ใน 3 ตระกูลพระสมเด็จ ที่สร้างโดย สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) เป็นพระสมเด็จที่มีเอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร คือ ต้องมีลักษณะของ ‘อกร่อง หูบายศรี มีขอบกระจก’ เกือบ ทุกพิมพ์ทรง"


ตามบันทึกของ พระยาทิพโกษา (สอน โลหะนันท์) และ นายกสัชฌุกร ซึ่งได้บันทึกจากการบอกเล่าของ พระธรรมถาวร จันทโชติ สามเณรที่ช่วยท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ตำผงมวลสาร เพื่อสร้างพระสมเด็จ เมื่อประมาณปี พ.ศ.2409 ที่ วัดระฆังโฆสิตาราม พระที่สร้างขึ้นในสมัยนั้นมีทั้ง 3 ชั้น และ 7 ชั้น ซึ่ง “พิมพ์ 7 ชั้น” ได้นำไปบรรจุไว้ที่ วัดเกศไชโย จ.อ่างทอง
พระสมเด็จวัดเกศไชโย เป็นพระเนื้อปูนขาว องค์พระมักมีสีขาวมากกว่าสีอื่นๆ ด้านหลังของพื้นฐานบางองค์เป็นรอยกาบหมากเห็นเป็นเส้นๆ ได้ชัด พิมพ์ที่เป็นที่นิยมสะสมมี 3 พิมพ์ คือ พิมพ์ 7 ชั้น นิยม, พิมพ์ 6 ชั้น อกตัน และ พิมพ์ 6 ชั้น อกตลอด
พระสมเด็จวัดเกศไชโยทั้ง 3 พิมพ์ นี้ เป็นพระพิมพ์ทรงสี่เหลี่ยม เหมือนพระสมเด็จวัดระฆังโฆสิตาราม การตัดขอบทั้ง 4 ด้านจะมนแทบทุกองค์ รวมทั้งมุมทั้ง 4 มุมด้วย มีกรอบกระจกจากพื้นผนังกรอบอีกชั้นหนึ่ง และมีพุทธลักษณะโดยรวมคล้ายๆ กัน ต่างกันแค่ที่ฐานอาสนะซึ่งมี 7 ชั้น และ 6 ชั้น เท่านั้น คือ องค์พระประธานประทับนั่ง แสดงปางขัดสมาธิราบ อกร่อง หูบายศรี สถิตเหนืออาสนะภายในซุ้มครอบแก้ว ด้านในกรอบก
และในจำนวนพระสมเด็จวัดเกศไชโยทั้ง 3 พิมพ์ พิมพ์ที่ได้รับความนิยมสูงสุด คือ “พระสมเด็จวัดเกศไชโย พิมพ์ 7 ชั้น นิยม” ซึ่งนอกเหนือจากฐานจะเป็น 7 ชั้นแล้ว จุดตำหนิเฉพาะสำคัญอื่นๆ ในการพิจารณา มีดังนี้
- พระกรรณ ซึ่งเป็น ‘หูบายศรี’ พระกรรณข้างซ้ายจะเชิดสูงกว่าพระกรรณข้างขวา
- พระพักตร์และพระศอ ดูรวมๆ คล้าย ‘หัวไม้ขีด’
- องค์พระสภาพเดิมๆ ที่ติดคมชัด จะเห็นโคนแขนแทงเข้าไปที่หัวไหล่
- ปลายฐานชั้นบนทางซ้ายขององค์พระแหลมคม ปลายสะบัดออก
- ปลายฐานชั้นล่างสุดทั้งสองข้าง จะเป็นเดือยวิ่งเข้าชนเส้นครอบแก้ว
- ปลายฐานชั้นล่างสุดทางซ้ายขององค์พระจะคล้ายเดือยไก่ซุ้มครอบแก้ว
- มีติ่งแหลมบนเข่าขวาขององค์พระ
พระสมเด็จเกศไชโย นับเป็นพระที่ได้รับการยอมรับและเป็นที่นิยมสะสมอย่างกว้างขวาง นับเนื่องจากว่าเป็นพระที่อยู่ในตระกูล “พระสมเด็จ” ที่สร้างโดย ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ผู้เป็นที่เคารพสักการะของพุทธศาสนิกชนทั่วหล้าครับผม

โดย อ.ราม วัชรประดิษฐ์

@--------------------- ขอบคุณครับ ---------------------@ ---------

เพื่อนๆท่านใดสนใจโทรติดต่อด่วนครับ ---------

--------------- พร บางระจัน 081-7842076 -----------------

 

 
PRASOMDEJ WAT RAKING AMULET|CHIANGMAI OFFICE
236/2 Moo. 5 Chiang Mai - Lumphun Rd T. Yangneung A. Sarapee Chiang Mai 50140
Tel 66-093-3361995 WhatsApp 66-66-93-3361995

https://www.prasomdejwatrakang.com  Email: 
palakname@hotmail.com
พระสมเด็จวัดระฆัง | โดย พร บางระจัน:
236/2 หมู่ 5 ,ถนน เชียงใหม่ ลำพูน ,ตำบลยางเนิ้ง,อำเภิสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 50140
Tel: 66-66-093-3361995  whatapp:0933361995
https://www.prasomdejwatrakang.com   e-mail:amuletcenter@hotmail.com
[copyright.htm]